โปรดอัพเดตเบราว์เซอร์

เบราว์เซอร์ที่คุณใช้เป็นเวอร์ชันเก่าซึ่งไม่สามารถใช้บริการของเราได้ เราขอแนะนำให้อัพเดตเบราว์เซอร์เพื่อการใช้งานที่ดีที่สุด

ไลฟ์สไตล์

ทางด่วนฟรี วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา 10-11 ก.ค.68 รวม 61 ด่าน

ฐานเศรษฐกิจ

อัพเดต 13 ชั่วโมงที่ผ่านมา • เผยแพร่ 4 ชั่วโมงที่ผ่านมา

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) เปิดให้ขึ้นทางด่วนฟรี ในวันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม 2568 (วันอาสาฬหบูชา) และวันศุกร์ที่ 11 กรกฎาคม 2568 (วันเข้าพรรษา) ตั้งแต่เวลา 00.01 น. ถึง 24.00 น. รวม 2 วัน เนื่องจากตรงกับวันหยุดราชการประจำปีตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โดยเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงคมนาคมที่ปรากฏในสัญญาสัมปทาน ฉบับแก้ไขใหม่ระหว่าง กทพ. บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BEM) และบริษัท ทางด่วนกรุงเทพเหนือ จำกัด (NECL) เพื่อช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายให้แก่ประชาชน

สำหรับทางด่วนฟรี ที่ทางกทพ.ได้ทำการยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษในวันหยุดราชการ วันที่ 10 และ11 กรกฎาคม 2568 วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา มีทั้งหมด 3 สายทาง รวม 61 ด่าน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

  • ทางพิเศษเฉลิมมหานคร จำนวน 20 ด่าน
  • ทางพิเศษศรีรัช จำนวน 31 ด่าน
  • ทางพิเศษอุดรรัถยา จำนวน 10 ด่าน
ทางด่วนฟรี วันหยุดยาว วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา 10 -11 กรกฎาคม 2568

ทางด่วนฟรี วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา 2568 เส้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร จำนวน 20 ด่าน

  • ดาวคะนอง
  • ดินแดง
  • ดินแดง 1
  • ท่าเรือ 1
  • ท่าเรือ 2
  • บางจาก
  • บางนา
  • พระรามที่สี่ 1
  • พระรามที่สี่ 2
  • เพชรบุรี
  • เลียบแม่น้ำ
  • สาธุประดิษฐ์ 1
  • สาธุประดิษฐ์ 2
  • สุขุมวิท
  • สุขุมวิท 62
  • อาจณรงค์
  • อาจณรงค์ (ท่าเรือ)
  • อาจณรงค์(บางนา)
  • อาจณรงค์ 3
  • ด่านลุมพินี

ทางด่วนฟรี วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา 2568 เส้นทางทางพิเศษศรีรัช จำนวน 31 ด่าน

  • ประชาชื่น (ขาเข้า)ในเมือง ,ประชาชื่น (ขาเข้า)นอกเมือง
  • รัชดาภิเษก
  • บางซื่อ
  • บางซื่อ 2
  • ย่านพหลโยธิน
  • คลองประปา 1
  • คลองประปา 2
  • พหลโยธิน 1
  • พหลโยธิน 2
  • อโศก1
  • อโศก 2
  • อโศก 4
  • ยมราช
  • อุรุพงศ์
  • หัวลำโพง
  • สะพานสว่าง
  • สุรวงศ์
  • สาทร
  • จันทร์
  • สาธุประดิษฐ์ 3
  • พระรามสาม
  • ประชาชื่น (ขาออก)
  • ประชาชื่น 1
  • ประชาชื่น 2
  • งามวงศ์วาน 1
  • งามวงศ์วาน 2
  • รามคำแหง
  • อโศก 3 ,อโศก 3 (อโศก 3-1)
  • ศรีนครินทร์
  • พระราม 9
  • พระราม 9-1 (ศรีรัช)

ทางด่วนฟรี วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา 2568 เส้นทางพิเศษอุดรรัถยา จำนวน 10 ด่าน

  • เมืองทองธานี (ขาเข้า)
  • เมืองทองธานี (ขาออก)
  • ศรีสมาน (ขาเข้า)
  • ศรีสมาน (ขาออก)
  • บางพูน (ขาเข้า)
  • บางพูน (ขาออก)
  • เชียงราก (ขาเข้า)
  • เชียงราก (ขาออก)
  • บางปะอิน (ขาเข้า)
  • บางปะอิน (ขาออก)

อนึ่งในเดือนกรกฎาคม 2568 ยังมีวันหยุดอีกหนึ่งวัน ซึ่งทางกทพ.จะยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ ทำให้ผู้ใช้รถในเมืองกรุงฯได้ขึ้นทางด่วนฟรีถึง 3 วันในเดือนนี้ ทั้งนี้สามารถตรวจสอบรายละเอียดวันหยุดทั้ง 3 วันในเดือนกรกฎาคม 2568 ได้ที่นี่

วันหยุดราชการเดือนกรกฎาคม 2568 กทพ.ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ ขึ้นทางด่วนฟรี

  • วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม 2568 (วันอาสาฬหบูชา)
  • วันศุกร์ที่ 11 กรกฎาคม 2568 (วันเข้าพรรษา)
  • วันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม 2568 (วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10)
วันหยุดราชการเดือนกรกฎาคม 2568 กทพ.ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ ขึ้นทางด่วนฟรี
ดูข่าวต้นฉบับ
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

ล่าสุดจาก ฐานเศรษฐกิจ

เปิดยุทธศาสตร์ Siriraj H Solutions กางแผนดันไทยเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพ

46 นาทีที่แล้ว

ราคาน้ำมันวันนี้2568 (10 ก.ค. 68) ปตท. บางจาก อัปเดตราคาล่าสุด

1 ชั่วโมงที่ผ่านมา

ถ่ายทอดสดวอลเลย์บอลหญิงไทย vs สหรัฐฯ เVNL 2025 วันนี้ 10 ก.ค.68

2 ชั่วโมงที่ผ่านมา

เอกชนชี้การส่งออกชะลอตัว "ภาษีสหรัฐฯ" ทำไทยเสียโอกาสทางการค้า

3 ชั่วโมงที่ผ่านมา

วิดีโอแนะนำ

ข่าวและบทความไลฟ์สไตล์อื่นๆ

ครบรอบ 50 ปี ความสัมพันธ์ไทย-จีน

เดลินิวส์

Jurassic World: The Experience ไดโนเสาร์คืนชีพ! ยกจักรวาลจูราสสิกบุกกรุงเทพฯ

LSA Thailand

หมาเน่าลอยน้ำ เหม็นจนทนไม่ไหว! รัชกาลที่ 4 ถึงขั้นออกประกาศ “ห้ามทิ้งซากสัตว์ลงแม่น้ำ”

ศิลปวัฒนธรรม

“ไว้เล็บ” ธรรมเนียมนิยมแต่กรุงศรีฯ คือเครื่องยืนยันชาย,หญิง เจ้าของเล็บ คือคนไฮโซ มีตังค์ ไม่ต้องทำงานหนัก

ศิลปวัฒนธรรม

บริษัทสอาด บริษัทรับสูบส้วมเจ้าแรกของสยาม

ศิลปวัฒนธรรม

เชื่อหรือไม่ ครั้งหนึ่ง “ป่อเต็กตึ๊ง” เปิดให้บริการทำคลอดฝากครรภ์

ศิลปวัฒนธรรม

กระดูกวัวและกระดองเต่า ยืนยันการมีอยู่ของ “ราชวงศ์ชาง” ได้อย่างไร?

ศิลปวัฒนธรรม

ไทยยกเลิก “จิ้มก้อง” กับจีน สมัยไหน?

ศิลปวัฒนธรรม

ข่าวและบทความยอดนิยม

Loading...