โปรดอัพเดตเบราว์เซอร์

เบราว์เซอร์ที่คุณใช้เป็นเวอร์ชันเก่าซึ่งไม่สามารถใช้บริการของเราได้ เราขอแนะนำให้อัพเดตเบราว์เซอร์เพื่อการใช้งานที่ดีที่สุด

สุขภาพ

ถอดรหัสรักอัตลักษณ์ทางเพศ “ชายแต่งตัวเป็นหญิง” รสนิยมที่ไม่ใช่โรคทางจิตเวช

ฐานเศรษฐกิจ

อัพเดต 12 ชั่วโมงที่ผ่านมา • เผยแพร่ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา

รสนิยมทางเพศ (Sexual Orientation) และอัตลักษณ์ทางเพศ (Gender Identity) เป็นสิ่งที่ผู้คนเปิดกว้างมากขึ้นในปัจจุบัน และ 1 ในรสนิยมที่พบได้บ่อยซึ่งมีความซับซ้อนและหลากหลาย คือ "ผู้ชายมีความชอบในผู้ชายที่แต่งตัวเป็นหญิง" กรณีนี้ สามารถระบุได้ว่าไม่ใช่โรคทางจิตเวช แต่อาจมาจากหลายปัจจัยทางจิตวิทยา ทั้งสังคมหรือแม้แต่ประสบการณ์ส่วนบุคคล ดังนี้

  • ผู้ชายที่ชอบผู้ชายด้วยกันเอง บางคนอาจจะดึงดูดใจผู้ชายที่แสดงออกถึงความเป็นหญิง (feminine) หรือผู้ชายที่แต่งหญิง (drag queens/crossdressers)
  • ผู้ชายบางคนอาจจะดึงดูดใจกับลักษณะทางกายภาพหรือพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความเป็นหญิง เช่น รูปร่าง, ท่าทาง, เสียง, การแต่งหน้า, หรือเสื้อผ้า
  • ผู้ชายบางคนอาจจะดึงดูดใจทั้งผู้ชาย ผู้หญิง หรือบุคคลที่ไม่จำกัดเพศสภาพ เป็นส่วนหนึ่งของความหลากหลายของความชอบที่เปิดกว้าง เรียกว่า ไบเซ็กชวล (Bisexual) หรือ แพนเซ็กชวล (Pansexual)

โดยความสนใจในเรื่อง Cross-dressing (การแต่งกายข้ามเพศ) จะแตกต่างจาก Transvestic Disorder (ภาวะหลงผิดจากการแต่งกายข้ามเพศ) ซึ่งเป็นภาวะทางจิตเวชที่หายากและแตกต่างกัน

  • Cross-dressing คือ การแต่งกายด้วยเสื้อผ้าของเพศตรงข้าม ไม่ได้เป็นความผิดปกติทางจิตเวช การแต่งกายข้ามเพศอาจเป็นไปเพื่อความสุขส่วนตัว การแสดงออกถึงตัวตนหรือความรู้สึกภายใน ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกระตุ้นทางเพศเสมอไป
  • Transvestic Disorder คือ ภาวะหลงผิดจากการแต่งกายข้ามเพศ เป็นภาวะทางจิตเวชที่พบได้น้อยมาก ซึ่งจะวินิจฉัยได้ก็ต่อเมื่อบุคคลนั้นมีการกระตุ้นทางเพศซ้ำๆ และรุนแรงจากการแต่งกายข้ามเพศ เรียกว่า Transvestic Fetishism และความหลงใหลหรือพฤติกรรมนี้ อาจก่อให้เกิดความทุกข์ใจ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การทำงาน ความสัมพันธ์ทางสังคม หรือหน้าที่อื่นๆ ในชีวิต

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่มากกกว่าคำนิยามของเพศชายหรือเพศหญิง ตลอดจนพฤติกรรมต่างคือ เพศภาวะ (gender) เป็นบทบาท พฤติกรรม การกระทำ และคุณลักษณะของบุคคลที่สะท้อนความเป็นเพศหญิง-เพศชาย หรือเพศอื่นๆ ผ่านการหล่อหลอม การปลูกฝัง และการกำหนดแบบแผนการแสดงออก จากการปฏิบัติตามสภาพแวดล้อมในสังคม ทำให้เพศชายและเพศหญิงมีความแตกต่างกัน

เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเพศที่สังคมกำหนด เป็นความสัมพัมพันธ์ระหว่างผู้หญิง ผู้ชาย เด็กหญิง และเด็กชาย ที่จะแสดงบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ดังนั้นเพศภาวะจึงไม่ใช่เรื่องธรรมชาติ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากถูกประกอบสร้างหล่อหลอมซึ่งอาจไม่ตรงตามเพศสรีระ

ข้อมมูลประกอบจาก: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และบทความจากคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ดูข่าวต้นฉบับ
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

ล่าสุดจาก ฐานเศรษฐกิจ

ประกาศกรมอุตุฯฉบับ 5 เตือนเหนือ อีสาน พรุ่งนี้ฝนตกหนักถึงหนักมาก

19 นาทีที่แล้ว

ภาคเหนืออ่วม!เช็กพื้นที่เสี่ยงน้ำหลาก-น้ำท่วมฉับพลันที่นี่

35 นาทีที่แล้ว

"ลลิล" เดินเกม CRM จับมือพันธมิตร เติมคุณภาพชีวิตลูกบ้าน

55 นาทีที่แล้ว

"แผ่นดินไหวลาว" ขนาด 3.2 ห่างไทย จังหวัดน่าน 37 กิโลเมตร

1 ชั่วโมงที่ผ่านมา

วิดีโอแนะนำ

ข่าวและบทความสุขภาพอื่นๆ

คนพิการห้ามพลาด! เปิดอบรมกว่า 70 หลักสูตร ทั่วไทย ก.ค.-ส.ค. 68

กรุงเทพธุรกิจ

เช็กเลย! ทำไม? 'อ้วนง่าย ผอมยาก' คุมอาหารแล้วแต่น้ำหนักไม่ลง

กรุงเทพธุรกิจ

สมัครด่วน!'Vietjet Thailand Sky Career 2025' กว่า 120 ตำแหน่งงานรออยู่

กรุงเทพธุรกิจ

วิธีเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ต้านทานโควิด-19

SistaCafe

ผู้ป่วยไตเฮ! เช็กสิทธิบัตรทอง '4 วิธีบำบัดไต' ฟรี เริ่ม 1 เม.ย.68

กรุงเทพธุรกิจ

หลายคนเข้าใจผิด 2 จุดสัญญาณเตือน โรคตับ อย่างรุนแรง อย่านิ่งนอนใจ

News In Thailand

เตือนแล้วนะ ชาม 3 ประเภทนี้ ถึงราคาถูกแค่ไหนก็อย่าซื้อเด็ดขาด

สยามนิวส์
วิดีโอ

รัฐบาลเตือน ปชช. เฝ้าระวัง ฝีดาษวานร ระบาด | ข่าวเด็ด 7 สี

Ch7HD News - ข่าวช่อง7

ข่าวและบทความยอดนิยม

Loading...